เรื่อง กระบวนการบริหารความเสี่ยง การประเมินความสี่ยง

(0 User reviews)   145   114
-
การประเมินความสี่ยง 2
กระบวนการบริหารความเสี่ยง Step 1 กำหนดวัตถุประสงค์ Objective Setting Step 2 การระบุความเสี่ยง Risk Identification Step 3 ประเมินความเสี่ยง Risk Assessment Step 4 จัดการความเสี่ยง Risk Response Step 5 ติดตามประเมินผลและรายงาน Monitoring & Reports 3. ประเมินความเสี่ยง ผลกระทบ สูงมาก 5 M M H VH VH สูง 4 L M H VH VH ปานกลาง 3 L L M H H ต่ำ 2 VL VL L M M ต่ำมาก 1 VL VL VL L L 1 2 3 4 5 ต่ำ ต่ำ ปาน สูง สูง โอกาสเกิด มาก กลาง มาก เป็นการคาดการณ์ถึงความน่าจะเป็น (โอกาส) ทึ่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบว่ามีเพียงใด ซึ่งต้องอาศัย การศึกษา, วิจัย, การเรียนรู้สิ่งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต และจากสหกรณ์อื่นๆ เป็นต้น - โอกาส ที่จะเกิดขึ้น (ครั้ง, ราย) - ผลกระทบ (จำนวนเงิน และที่ไม่ใช่จำนวนเงิน) - ควรประเมินไว้ในระดับสูง
Share

อ่านเพิ่มเติม

 


คู่มือประเมินเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์


https://drive.google.com/file/d/1JwhAujkblYGqAuGTB9LLk0ZJa2j_g6zu/view

 


แผนบริหารความเสี่ยงสหกรณ์ออมทรัพย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2566  


http://www.fsct.com/fsct_newss.php?new=2587#sthash.fumSGeRx.dpbs

 


ร่างตัวอย่างเครื่องมือแผนบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์


http://www.fsct.com/fsct_newss.php?new=2251#sthash.9WRYoM03.dpbs

 

 

 

อินโฟกราฟฟิก เรื่อง  กระบวนการบริหารความเสี่ยง  การประเมินความสี่ยง

โดย  นางสาวอารีรัตน์  อาจรักษา

ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  คณะทำงานจัดทำคู่มือประเมินเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์

หน่วยงาน  ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด

จำนวนหน้า 1

ปีที่พิมพ์ 2561

There are no reviews for this eBook.

0
0 out of 5 (0 User reviews )

Add a Review

Your Rating *

Related eBooks