เรื่อง กระบวนการบริหารความเสี่ยง การระบุความเสี่ยง
(0 User reviews)
143
100
การระบุความเสี่ยง
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
Step 1 กำหนดวัตถุประสงค์ Objective Setting
Step 2 การระบุความเสี่ยง Risk Identification
Step 3 ประเมินความเสี่ยง Risk Assessment
Step 4 จัดการความเสี่ยง Risk Response
Step 5 ติดตามประเมินผลและรายงาน Monitoring & Reports
2. ระบุความเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) หมายถึง ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยงที่ทำให้ไม่บรรลุวัตถุ
ประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหนเมื่อใดและเกิดขึ้นได้อย่างไร
ปัจจัยภายใน สหกรณ์สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได้ เช่น
1. นโยบายของสหกรณ์ไม่เหมาะสมกับความเป็นสหกรณ์และสถานการณ์ที่เป็นจริง
2. การจัดองค์กรไม่ชัดเจน
3. ขาดการพัฒนาบุคคลากร
ปัจจัยภายนอก สหกรณ์ไม่สามารถควบคุมได้
1. เศรษฐกิจ เงินเฟ้อ ดอกเบี้ย GDP.
2. สังคม บริโภคนิยม คุณธรรม
3. การเมือง นโยบายของรัฐบาล
4. กฎหมาย
อ่านเพิ่มเติม
คู่มือประเมินเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์
https://drive.google.com/file/d/1JwhAujkblYGqAuGTB9LLk0ZJa2j_g6zu/view
แผนบริหารความเสี่ยงสหกรณ์ออมทรัพย์ตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2566
http://www.fsct.com/fsct_newss.php?new=2587#sthash.fumSGeRx.dpbs
ร่างตัวอย่างเครื่องมือแผนบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์
http://www.fsct.com/fsct_newss.php?new=2251#sthash.9WRYoM03.dpbs
อินโฟกราฟฟิก เรื่อง กระบวนการบริหารความเสี่ยง การระบุความเสี่ยง
โดย นางสาวอารีรัตน์ อาจรักษา
ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง คณะทำงานจัดทำคู่มือประเมินเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์
หน่วยงาน ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด
จำนวนหน้า 1
ปีที่พิมพ์ 2561