Admin FSCT

( Joined 1 ปีที่แล้ว )

Books by Admin FSCT

336 found
เรื่อง กระบวนการบริหารความเสี่ยง การประเมินความสี่ยง

Authors: -

In การบริหารความเสี่ยง

By Admin FSCT

กระบวนการบริหารความเสี่ยง Step 1 กำหนดวัตถุประสงค์ Objective Setting Step 2 การระบุความเสี่ยง Risk Identification Step 3 ประเมินความเสี่ยง Risk Assessment Step 4 จัดการความเสี่ยง Risk Response Step 5 ติดตามประเมินผลและรายงาน Monitoring & Reports 3. ประเมินความเสี่ยง ผลกระทบ สูงมาก 5 M M H VH VH สูง 4 L M H VH VH ปานกลาง 3 L L M H H ต่ำ 2 VL VL L M M ต่ำมาก 1 VL VL VL L L 1 2 3 4 5 ต่ำ ต่ำ ปาน สูง สูง โอกาสเกิด มาก กลาง มาก เป็นการคาดการณ์ถึงความน่าจะเป็น (โอกาส) ทึ่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบว่ามีเพียงใด ซึ่งต้องอาศัย การศึกษา, วิจัย, การเรียนรู้สิ่งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต และจากสหกรณ์อื่นๆ เป็นต้น - โอกาส ที่จะเกิดขึ้น (ครั้ง, ราย) - ผลกระทบ (จำนวนเงิน และที่ไม่ใช่จำนวนเงิน) - ควรประเมินไว้ในระดับสูง

เรื่อง กระบวนการบริหารความเสี่ยง การจัดการความสี่ยง

Authors: -

In การบริหารความเสี่ยง

By Admin FSCT

กระบวนการบริหารความเสี่ยง Step 1 กำหนดวัตถุประสงค์ Objective Setting Step 2 การระบุความเสี่ยง Risk Identification Step 3 ประเมินความเสี่ยง Risk Assessment Step 4 จัดการความเสี่ยง Risk Response Step 5 ติดตามประเมินผลและรายงาน Monitoring & Reports การจัดการความเสี่ยง - ยอมรับ เนื่องจากไม่คุ้มค่าในการจัดการควบคุมหรือป้องกันความเสี่ยง - ลด / ควบคุม ปรับปรุงระบบการทำงานเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดขึ้น หรือลดผลกระทบ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ - กระจาย / ถ่ายโอน กระจายหรือถ่ายโอนความเสี่ยงให้ผู้อื่นช่วยแบ่งความรับผิดชอบไป - ยกเลิก เป็นการจัดการความเสี่ยงที่ประเมินแล้วว่าอยู่ในระดับสูง และสหกรณ์ไม่อาจยอมรับความเสี่ยงได้

เรื่อง แนวทางการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการสหกรณ์ออมทรัพย์

Authors: -

In อินโฟกราฟิก

By Admin FSCT

แนวทางการพัฒนาสหกรณ์ตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการ สอ. ขั้นที่ 1 ศึกษารายละเอียดของเกณฑ์ฯ ขั้นที่ 2 ประเมินสหกรณ์ด้วยตนเอง ขั้นที่ 3 หาช่องว่างเพื่อการพัฒนา ขั้นที่ 4 จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการพัฒนา ขั้นที่ 5 จัดทำแผนพัฒนาสหกรณ์ ขั้นที่ 6 ดำเนินการตามแผนพัฒนาสหกรณ์ ขั้นที่ 7 ประเมินผลการดำเนินงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

เรื่อง ปัจจัยต่อความสำเร็จการบริหารความเสี่ยง

Authors: -

In อินโฟกราฟิก

By Admin FSCT

ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง  8 Key Success Factors   1.   การติดตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง   2.   การวัดผลการบริหารความเสี่ยงควบคู่กับกระบวนการด้านบุคลากร   3.   ผู้บริหารมีการชี้แจงให้เข้าใจในการบริหารและการเปลี่ยนแปลง   4.   บุคลากรในสหกรณ์เข้าใจความหมายของ “ความเสี่ยง” ที่ตรงกัน   5.   การฝึกอบรมความรู้ และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงในสหกรณ์   6.   การสื่อสารที่มีคุณภาพเชื่อมโยงกับกลยุทธ์   7.   ดำเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง   8.   การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากผู้บริหารระดับสูง

เรื่อง เกณฑ์ประเมินมาตรฐานความมั่นคงทางการเงินของสหกรณ์ออมทรัพย์

Authors: -

In อินโฟกราฟิก

By Admin FSCT

หมวด 1. สภาพคล่องทางการเงิน เป็นการวัดความสามารถในการจ่ายคืนหนี้ระยะสั้นของกิจการ หรือความ จำเป็นใช้เงินระยะสั้น หมวด 2. โครงสร้างทางการเงิน เป็นการวัดโครงสร้างทางการเงินว่าแหล่งที่มาของเงินทุนมาจากที่ใด และแหล่งที่ใช้ไปของเงินทุนใช้ไปในทางใดบ้าง หมวด 3. คุณภาพสินทรัพย์ และการป้องกันความเสี่ยง เป็นการวัดคุณภาพของสินทรัพย์ของกิจการว่าดี หรือแย่เพียงใด หมวด 4 ประสิทธิภาพการทำรายได้ เป็นการวัดว่าที่กิจการลงทุไปก่อให้เกิดรายได้ หรือไม่ และมประสิทธิภาพหรือไม่